วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สรุปใบงานที่ 4 สรุปวันที่ 21 พฤศจิกายน

สรุปผลการเรียน วิชานวัตกรรมและสารสนเทศการศึกษาวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒การจัดการความรู้ขั้นตอนที่ ๑. การออกแบบสถาปัตยกรรม๒. การออกแบบ๓. การขับเคลื่อน๔. การผลิตออกมาบทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ “ สู่มนุษย์ ”๑. ผู้ดูแลทุนมนุษย์ ( Human Capital Steward )๒. ผู้ประสานสัมพันธ์ ( Knoledge Facilitator )๓. ผู้อำนวยความรู้ ( Relationship Bulder )๔. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ ( Raped Deployment Sepecidist )ความรู้คืออะไร๑. Knowledge Capital เป็นต้นทุน องค์กร ทรัพยากรมนุษย์๒. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศ และข้อมูลมาเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพได้๓. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาว์ปัญญาข้อมูล ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลกลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานสารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมายความรู้ ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบความคิด เกิดเป็นความรู้ และความเชี่ยวชาญความเฉลียวฉลาด การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อทำงานในสาขาต่างๆเชาว์ปัญญา ผลขากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไวประมวลผล ขัดเกลา/เลือกใช้ บูรณาการ ปรับแต่ง/จดจำคำคมเพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ เราจะต้องก้าวขึ้นบันไดด้วยรูปแบบของความรู้ความรู้ที่ชัดแจ้งความรู้ที่ฝังอยู่ในคนโมเดลปลาทูกระบวนการจัดการความรู้๑. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้๒. แสวงหาความรู้๓. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้๔. การสร้างความรู้๕. การประมวลและกลั่นกรองความรู้๖. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้๗. การแบ่งความรู้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้๑. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ๒. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้๓. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้๔. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งานสร้างระบบสารสนเทศจัดการเรียนรู้การจัดเก็บความรู้เป็นระบบการค้นหาและเรียกใช้ความรู้การให้ความรู้ร่วมกันและการกระจายความรู้ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน๑. เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยี๒. ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบที่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประโยชน์การCopระยะสั้น- เวทีของการแก้ปัญหา ระดมสมอง- ได้แนวคิดที่หลากหลาย- ได้ข้อมูลมากขึ้นในการตัดสินใจ- หาทางออก คำตอบเร็ว- ลดระยะเวลา และการลงทุนระยะยาว- สร้างเสริมวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กร- เกิดความสามารถที่คาดการณ์ได้- วิเคราะห์ความแตกต่างและตั้งเป้าหมาย การปรับปรุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ- แหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศรูปแบบของCop- เพื่อแก้ปัญหาประจำวัน- เน้นการพัฒนา ตรวจสอบ- จัดระเบียบ ยกระดับ- เพื่อพัฒนาแนวคิดอุปสรรคการเรียนรู้ไม่พูด ไม่คุยไม่เปิด ไม่รับไม่ปรับ ไม่เปลี่ยนไม่เพียร ไม่ทำKs ที่ดีต้องมีทั้ง Explicit และ TacitExplicit ต้องมีวิชาการ ทฤษฎี มาจากการสังเคราะห์วิจัยใช้สมอง เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์Tacit ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ ประสบการณ์ มากจากวิจารณญาณ เป็นเทคนิค เฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคนคลังความรู้ที่ดีเรื่องเล่า คำพูดที่เร้าใจการถอดบทเรียนที่ได้แหล่งข้อมูล บุคคลที่อ้างอิงปัจจัยแห่งความสำเร็จผู้บริหารบรรยากาศ วัฒนธรรมองค์กรการสื่อสารเทคโนโลยีที่เข้ากับพฤติกรรมและการทำงานการให้ความรู้เรื่องราวการจัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยีแผนงานชัดเจนการประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัด
Background.MyEm0.Com

lสรุปการเรียนรู้ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2552

สรุปผลการเรียน วิชานวัตกรรมและสารสนเทศการศึกษาวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒การจัดการความรู้ขั้นตอนที่ ๑. การออกแบบสถาปัตยกรรม๒. การออกแบบ๓. การขับเคลื่อน๔. การผลิตออกมาบทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ “ สู่มนุษย์ ”๑. ผู้ดูแลทุนมนุษย์ ( Human Capital Steward )๒. ผู้ประสานสัมพันธ์ ( Knoledge Facilitator )๓. ผู้อำนวยความรู้ ( Relationship Bulder )๔. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ ( Raped Deployment Sepecidist )ความรู้คืออะไร๑. Knowledge Capital เป็นต้นทุน องค์กร ทรัพยากรมนุษย์๒. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศ และข้อมูลมาเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพได้๓. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาว์ปัญญาข้อมูล ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลกลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานสารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมายความรู้ ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบความคิด เกิดเป็นความรู้ และความเชี่ยวชาญความเฉลียวฉลาด การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อทำงานในสาขาต่างๆเชาว์ปัญญา ผลขากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไวประมวลผล ขัดเกลา/เลือกใช้ บูรณาการ ปรับแต่ง/จดจำคำคมเพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ เราจะต้องก้าวขึ้นบันไดด้วยรูปแบบของความรู้ความรู้ที่ชัดแจ้งความรู้ที่ฝังอยู่ในคนโมเดลปลาทูกระบวนการจัดการความรู้๑. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้๒. แสวงหาความรู้๓. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้๔. การสร้างความรู้๕. การประมวลและกลั่นกรองความรู้๖. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้๗. การแบ่งความรู้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้๑. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ๒. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้๓. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้๔. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งานสร้างระบบสารสนเทศจัดการเรียนรู้การจัดเก็บความรู้เป็นระบบการค้นหาและเรียกใช้ความรู้การให้ความรู้ร่วมกันและการกระจายความรู้ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน๑. เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยี๒. ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบที่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประโยชน์การCopระยะสั้น- เวทีของการแก้ปัญหา ระดมสมอง- ได้แนวคิดที่หลากหลาย- ได้ข้อมูลมากขึ้นในการตัดสินใจ- หาทางออก คำตอบเร็ว- ลดระยะเวลา และการลงทุนระยะยาว- สร้างเสริมวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กร- เกิดความสามารถที่คาดการณ์ได้- วิเคราะห์ความแตกต่างและตั้งเป้าหมาย การปรับปรุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ- แหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศรูปแบบของCop- เพื่อแก้ปัญหาประจำวัน- เน้นการพัฒนา ตรวจสอบ- จัดระเบียบ ยกระดับ- เพื่อพัฒนาแนวคิดอุปสรรคการเรียนรู้ไม่พูด ไม่คุยไม่เปิด ไม่รับไม่ปรับ ไม่เปลี่ยนไม่เพียร ไม่ทำKs ที่ดีต้องมีทั้ง Explicit และ TacitExplicit ต้องมีวิชาการ ทฤษฎี มาจากการสังเคราะห์วิจัยใช้สมอง เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์Tacit ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ ประสบการณ์ มากจากวิจารณญาณ เป็นเทคนิค เฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคนคลังความรู้ที่ดีเรื่องเล่า คำพูดที่เร้าใจการถอดบทเรียนที่ได้แหล่งข้อมูล บุคคลที่อ้างอิงปัจจัยแห่งความสำเร็จผู้บริหารบรรยากาศ วัฒนธรรมองค์กรการสื่อสารเทคโนโลยีที่เข้ากับพฤติกรรมและการทำงานการให้ความรู้เรื่องราวการจัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยีแผนงานชัดเจนการประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัด

วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สรุปใบงานครั้งที่ 1 แนวคิดการพัฒนานวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา

งานชิ้นที่ 1
ชื่อหน่วยงาน โรงเรียนวัดมังคลาราม
ชื่อเรื่อง การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา
1. บริหารจัดการให้แต่ละกลุ่มงานมีคอมพิวเตอร์เพียงพอกับการดำเนินงาน
2. จัดสรรงบประมาณปรับปรุงพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ตให้มีประ
สิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

3. ปรับปรุงห้องสมุดที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลได้ไม่จำกัด

วิสัยทัศน์
โรงเรียนวัดมังคลาราม มุ่งพัฒนาสู่มาตรฐานการศึกษา เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วม พัฒนาครูสู่มืออาชีพ

ยุทธศาสตร์
1. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ
2. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3. พัฒนาระบบบริหารงานทุกแผนกงาน ตามแนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วม
4. ส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะ

บริบทสถานศึกษา

1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ พื้นที่เป็นที่ราบ มีประชากรประมาณ
2,600 คน อาชีพหลักของชุมชน คือ การเกษตร ได้แก่ ทำสวนยางพารา สวนผลไม้ ทำนาส่วนมากรายได้ไม่เพียงพอกับค่าครองชีพ ต้องหารายได้เพิ่มเติมโดยการทำอาชีพเสริม เช่น อาชีพรับจ้าง ผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ
2. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับชั้น ป. 6 , มัธยมศึกษาปีที่ 3
ร้อยละ 99 ประกอบอาชีพ ทำการเกษตรร้อยละ 100 นับถือศาสนา พุทธ
3. โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โรงเรียนมีความเสี่ยงในเรื่อง ยาเสพติด การพนันอยู่บ้าง ครอบครัวขาดการเอาใจใส่ดูแลเท่าที่ควร ประชากรในพื้นที่มี ฐานะค่อนข้างยากจน โรงเรียนจึงได้พยายามให้โอกาสแก่นักเรียนในเรื่องอาหารอิ่มทุกคน จัดหาทุนการศึกษาสนับสนุนทุกปีการศึกษาและประชุมผู้ปกครองให้เข้าใจสภาพปัญหาของนักเรียนและร่วมหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน วิธีการดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาได้ในระดับที่น่าพอใจ


สภาพปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
ในปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดมังคลารามได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนในฝัน
รุ่นที่ 3 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและการบริหารจัดการ โดยโรงเรียนมีภารกิจเร่งด่วนที่ต้องพัฒนา คือ
1.1 การพัฒนาห้องสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยพัฒนาระบบการสืบค้นข้อมูลให้
เพียงพอกับจำนวนนักเรียน พัฒนาระบบบริการการยืม-คืน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาระบบการลงทะเบียนหนังสือโดยใช้คอมพิวเตอร์
1.2 การพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนผ่านสื่อ ICT โดยปรับปรุงห้องเรียน
แต่ละกลุ่มสาระ ให้ใช้สื่อคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ ได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
1.3 การพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้สามารถไช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดการเรียน
การสอนและงานนโยบายอื่น ๆ
1.4 ปรับปรุงและพัฒนาห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์โดยใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
และจัดหาโปรแกรมสำเร็จรูปทีนักเรียนสนใจ