วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ให้ผู้เรียนแสดงความเห็น
จุดเด่นจุดด้อยและข้อเสนอแนะในการใช้ (เว็บล็อก)Weblogหรือบล็อก(Blog) Blogspot.com
จุดเด่นของ web blog
สามารถแยกเป็นข้อๆ ได้ดังนี้
1.เป็นสื่อที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกของผู้เขียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เพื่อเสนอให้ผู้คน สาธารณะได้รับรู้
2.เป็นเครื่องมือช่วยในด้านธุรกิจ เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเสนอข่าวสารความเคลื่อนไหวขององค์กร การเสนอตัวอย่างสินค้า การขายสินค้า และการทำการตลาดออนไลน์ เป็นต้น
3.เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่ถูกต้องและชัดเจน จากผู้นั้น เนื่องจากผู้เขียน Blog มักจะเขียนถึงเรื่องที่ตัวเองถนัด ชอบ และมีมีความรู้เฉพาะด้านๆความรู้ลึกในเรื่องนั้นๆ การค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านใน Blog ต่างๆ จึงทำให้เราค้นพบความรู้ และผู้มีความรู้ความชำนาญในด้านต่าง ๆ ได้รวดเร็วขึ้น
4.ทำให้ทันต่อเหตุการณ์ในโลกปัจจุบัน เพราะข่าวสารความรู้ มาจากผู้คนมากมาย(ทั่วโลก) และมักจะเปลี่ยนแปลงได้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ
จุดด้อยและข้อเสนอแนะ
1.blogspot.com จะสร้างยากกว่าและแก้ไขยากกว่า ต้องใช้หลายเมนู
2.ควรใช้blogspot.com ในการนำเสนอข้อมูลทั่วไปเช่น ประวัติโรงเรียน ทำเนียบบุคลากร ที่ไม่ต้องอัพเดท ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันมากนัก
เปรียบเทียบ blogspot.com กับblog gotoknow ทั้งสอง blog มีลักษณะคล้ายกัน คือ
1.เป็นเครื่องมือสร้างความรู้
2.เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ความรู้
3.ใช้เป็นเครื่องมือแลกเปลี่ยนความรู้
4.การเขียน blog สำหรับบันทึกเล่าเรื่องราว ข่าวสาร ความรู้ และประสบการณ์ต่างๆ ในสิ่งที่ผู้เล่าสนใจ เป็นการถ่ายทอดสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ในสมองลงสู่ตัวหนังสือ การเขียนต้อง มีอิสระทางความคิดในรูปแบบที่เป็นตัวของตัวเอง จะช่วยอำนวยให้การดึงเอาความรู้ฝังลึกถูกแสดงออกมาได้โดยไม่ยากนัก
5.การเขียน blog อยู่เป็นประจำก็สามารถนำมาสู่การสร้างขุมความรู้ (Knowledge Assets) อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ การเก็บรวบรวมและการแก้ไขหรือเพิ่มเติมความรู้ก็ทำได้โดย สะดวกรวดเร็ว ส่วนระบบ blog ที่เป็นแบบชุมชน เช่น GotoKnow.org จะยิ่งช่วยทำให้ขุมความรู้ถูกร่วมมือกันสร้างขึ้นได้อย่างรวดเร็ว กลายเป็นขุมความรู้ที่เชื่อมโยง ซึ่งน่าจะเป็นแหล่ง KM blog ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
6.การเขียน blog จะอนุญาตให้ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นต่อความรู้ที่ผู้เขียนถ่ายทอดลงไปใน blog และผู้เขียนได้เขียนโต้ตอบต่อความคิดเห็นนั้นๆ ไปๆ มาๆ ในลักษณะของการสนทนาเพื่อหาความแตกฉานในตัวความรู้ ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันสกัดความรู้ฝังลึกได้อย่างดี
จุดเด่นจุดด้อยและข้อเสนอแนะในการใช้ (เว็บล็อก)Weblogหรือบล็อก(Blog) Blogspot.com
จุดเด่นของ web blog
สามารถแยกเป็นข้อๆ ได้ดังนี้
1.เป็นสื่อที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกของผู้เขียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เพื่อเสนอให้ผู้คน สาธารณะได้รับรู้
2.เป็นเครื่องมือช่วยในด้านธุรกิจ เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเสนอข่าวสารความเคลื่อนไหวขององค์กร การเสนอตัวอย่างสินค้า การขายสินค้า และการทำการตลาดออนไลน์ เป็นต้น
3.เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่ถูกต้องและชัดเจน จากผู้นั้น เนื่องจากผู้เขียน Blog มักจะเขียนถึงเรื่องที่ตัวเองถนัด ชอบ และมีมีความรู้เฉพาะด้านๆความรู้ลึกในเรื่องนั้นๆ การค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านใน Blog ต่างๆ จึงทำให้เราค้นพบความรู้ และผู้มีความรู้ความชำนาญในด้านต่าง ๆ ได้รวดเร็วขึ้น
4.ทำให้ทันต่อเหตุการณ์ในโลกปัจจุบัน เพราะข่าวสารความรู้ มาจากผู้คนมากมาย(ทั่วโลก) และมักจะเปลี่ยนแปลงได้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ
จุดด้อยและข้อเสนอแนะ
1.blogspot.com จะสร้างยากกว่าและแก้ไขยากกว่า ต้องใช้หลายเมนู
2.ควรใช้blogspot.com ในการนำเสนอข้อมูลทั่วไปเช่น ประวัติโรงเรียน ทำเนียบบุคลากร ที่ไม่ต้องอัพเดท ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันมากนัก
เปรียบเทียบ blogspot.com กับblog gotoknow ทั้งสอง blog มีลักษณะคล้ายกัน คือ
1.เป็นเครื่องมือสร้างความรู้
2.เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ความรู้
3.ใช้เป็นเครื่องมือแลกเปลี่ยนความรู้
4.การเขียน blog สำหรับบันทึกเล่าเรื่องราว ข่าวสาร ความรู้ และประสบการณ์ต่างๆ ในสิ่งที่ผู้เล่าสนใจ เป็นการถ่ายทอดสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ในสมองลงสู่ตัวหนังสือ การเขียนต้อง มีอิสระทางความคิดในรูปแบบที่เป็นตัวของตัวเอง จะช่วยอำนวยให้การดึงเอาความรู้ฝังลึกถูกแสดงออกมาได้โดยไม่ยากนัก
5.การเขียน blog อยู่เป็นประจำก็สามารถนำมาสู่การสร้างขุมความรู้ (Knowledge Assets) อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ การเก็บรวบรวมและการแก้ไขหรือเพิ่มเติมความรู้ก็ทำได้โดย สะดวกรวดเร็ว ส่วนระบบ blog ที่เป็นแบบชุมชน เช่น GotoKnow.org จะยิ่งช่วยทำให้ขุมความรู้ถูกร่วมมือกันสร้างขึ้นได้อย่างรวดเร็ว กลายเป็นขุมความรู้ที่เชื่อมโยง ซึ่งน่าจะเป็นแหล่ง KM blog ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
6.การเขียน blog จะอนุญาตให้ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นต่อความรู้ที่ผู้เขียนถ่ายทอดลงไปใน blog และผู้เขียนได้เขียนโต้ตอบต่อความคิดเห็นนั้นๆ ไปๆ มาๆ ในลักษณะของการสนทนาเพื่อหาความแตกฉานในตัวความรู้ ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันสกัดความรู้ฝังลึกได้อย่างดี
วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 13
1. การบำเพ็ญประโยชย์ต่อสาธารณะ
1) 17-25 มกราคม 2553 ได้เป็นวิทยากรสอนภาษาอังกฤษ
ให้นักศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายของการศึกษานอกโรงเรียน
อำเภอพิปูน ตั้งแต่เวลา 16.00-19.00 น.เป็นเวลา 7 วัน
2) ร่วมกิจกรรมกับหมู่บ้านพัฒนาชุมชนให้สะอาด
2. เกรดที่น่าจะได้
ดูจากพัฒนาการในการเรียนวิชาการบริหารนวัตกรรมและเทคโนโลยี
จากที่ไม่มีความรู้เรื่องการสร้าง blog แต่ก็สามารถเรียนรู้ในห้องเรียน
และศึกษาด้วยตนเอง ปัญหาที่ต้องแก้ไขและเรียนรู้หาคำตอบด้วยตนเอง
จึงมีความเป็นไปได้ที่ได้ เกรด "A"
1) 17-25 มกราคม 2553 ได้เป็นวิทยากรสอนภาษาอังกฤษ
ให้นักศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายของการศึกษานอกโรงเรียน
อำเภอพิปูน ตั้งแต่เวลา 16.00-19.00 น.เป็นเวลา 7 วัน
2) ร่วมกิจกรรมกับหมู่บ้านพัฒนาชุมชนให้สะอาด
2. เกรดที่น่าจะได้
ดูจากพัฒนาการในการเรียนวิชาการบริหารนวัตกรรมและเทคโนโลยี
จากที่ไม่มีความรู้เรื่องการสร้าง blog แต่ก็สามารถเรียนรู้ในห้องเรียน
และศึกษาด้วยตนเอง ปัญหาที่ต้องแก้ไขและเรียนรู้หาคำตอบด้วยตนเอง
จึงมีความเป็นไปได้ที่ได้ เกรด "A"
วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 3
งานกลุ่ม การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ดูเอกสาร
สมาชิกในกลุ่ม
นายหยา ชายภักตร์ 5246701003
นางโชคดี จันทร์ทิพย์ 5246701015
นางอุบลรัตน์ นำนาผล 5246701031
นางวันเพ็ญ ชูโชติ 5246701034
นางสาวกัลยารัตน์ คชเชนทร์ 5246701036
นางกมลทิพย์ สงค์ดำ 5246701081
สมาชิกในกลุ่ม
นายหยา ชายภักตร์ 5246701003
นางโชคดี จันทร์ทิพย์ 5246701015
นางอุบลรัตน์ นำนาผล 5246701031
นางวันเพ็ญ ชูโชติ 5246701034
นางสาวกัลยารัตน์ คชเชนทร์ 5246701036
นางกมลทิพย์ สงค์ดำ 5246701081
วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 12 การใช้ spss
โปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติอีกโปรแกรมหนึ่ง
-การเริ่มต้นสู่โปรแกรม
เมื่อคลิกที่โปรแกรม SPSS จะเข้าสู่โปรแกรมดังรูป ซึ่งหากมีแฟ้มข้อมูลเดิม จะสามารถเลือกจากหน้าต่างนี้ หากต้องการเริ่มต้นใหม่ ให้คลิก Cancel เพื่อเข้าสู่ส่วนตารางทำงาน หรือที่เรียกว่า Data Editor
ข้อกำหนดโปรแกรมทั่วไป
SPSS แบ่งส่วนที่ใช้ป้อนข้อมูลเป็น sheet 2 ส่วน หรืออาจเรียกเป็น Tab ได้แก่
Data View : เป็นส่วนสำหรับใส่ข้อมูล ซึ่งแสดงชื่อตัวแปรเป็น Var ทุกคอลัมน์เมื่อทำการป้อนข้อมูล จะเปลี่ยนเป็น Var00001Var00002 … หากต้องการกำหนดชื่อตัวแปรเป็นอย่างอื่น ให้เลือกที่ Variable View จาก Sheet Tab ส่วนแถวจะอ้างอิงตั้งแต่ 1, 2, 3 ไปเรื่อย ๆ อย่างไรก็ตาม หากพบว่าตัวอักษรที่แสดงชื่อตัวแปรหรือแถว มีขนาดเล็กมองไม่สะดวก สามารถเปลี่ยนได้โดยการเลือกเมนู View \ Fonts… เพื่อเลือกชนิดอักษรและขนาดตามต้องการ ( แนะนำให้ใช้ MS San Serif ขนาด 10point)
Variable View : เป็นส่วนที่กำหนดลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ของตัวแปร ได้แก่ ชื่อตัวแปร ( มีได้ไม่เกิน 8 ตัวอักษรรวมตัวเลข โดยห้ามเว้นช่องว่างหรือวรรค และห้ามมีสัญลักษณ์อื่น ๆ เช่น วงเล็บ เครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น ) จำนวนทศนิยมความกว้างของคอลัมน์ Label ( ใช้ระบุรายละเอียดของตัวแปรซึ่งจำกัดเพียง 8 ตัวอักษร แต่ Label สามารถพิมพ์ข้อความได้มากกว่า รวมทั้งมีช่องว่างหรือสัญลักษณ์ใด ๆ ได้ ) เป็นต้น
•การนำข้อมูลเข้าสู่ Work sheet หรือ Data Editor
สำหรับการนำข้อมูลเข้าสู่ Data Editor สามารถทำได้หลายวิธี แต่ 2 วิธีที่นิยม ได้แก่
•การเปิดไฟล์จากไฟล์ประเภทอื่น
โดยโปรแกรม SPSS สามารถที่จะเปิดไฟล์ได้หลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นไฟล์จากโปรแกรม Excel, Lotus, Sysstat หรือ Dbase สามารถเปิดได้โดยใช้เมนู File \ Open \ Data จากนั้นเลือกชนิดของไฟล์ เลือก Drive และ Folder ให้ถูกต้อง
•การป้อนข้อมูลโดยตรง
ในการป้อนข้อมูล หากต้องการป้อนข้อมูลเข้าอย่างโดยตรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ใน Data Editor สามารถทำการ Copy และ Paste ข้อมูลในลักษณะของ Spread sheet ทั่วไปได้ ทำให้สะดวกต่อการใช้ป้อนข้อมูล
•เมนูสำหรับการวิเคราะห์ผลทางสถิติ
ในการวิเคราะห์นั้น จะใช้เมนู Statistics ดังรูป โดยจะมีเมนูย่อยที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติต่าง ๆ เช่น Descriptive Statistics, Compare Mean, General Linear Model, Correlation หรือ Regression เป็นต้น
-การเริ่มต้นสู่โปรแกรม
เมื่อคลิกที่โปรแกรม SPSS จะเข้าสู่โปรแกรมดังรูป ซึ่งหากมีแฟ้มข้อมูลเดิม จะสามารถเลือกจากหน้าต่างนี้ หากต้องการเริ่มต้นใหม่ ให้คลิก Cancel เพื่อเข้าสู่ส่วนตารางทำงาน หรือที่เรียกว่า Data Editor
ข้อกำหนดโปรแกรมทั่วไป
SPSS แบ่งส่วนที่ใช้ป้อนข้อมูลเป็น sheet 2 ส่วน หรืออาจเรียกเป็น Tab ได้แก่
Data View : เป็นส่วนสำหรับใส่ข้อมูล ซึ่งแสดงชื่อตัวแปรเป็น Var ทุกคอลัมน์เมื่อทำการป้อนข้อมูล จะเปลี่ยนเป็น Var00001Var00002 … หากต้องการกำหนดชื่อตัวแปรเป็นอย่างอื่น ให้เลือกที่ Variable View จาก Sheet Tab ส่วนแถวจะอ้างอิงตั้งแต่ 1, 2, 3 ไปเรื่อย ๆ อย่างไรก็ตาม หากพบว่าตัวอักษรที่แสดงชื่อตัวแปรหรือแถว มีขนาดเล็กมองไม่สะดวก สามารถเปลี่ยนได้โดยการเลือกเมนู View \ Fonts… เพื่อเลือกชนิดอักษรและขนาดตามต้องการ ( แนะนำให้ใช้ MS San Serif ขนาด 10point)
Variable View : เป็นส่วนที่กำหนดลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ของตัวแปร ได้แก่ ชื่อตัวแปร ( มีได้ไม่เกิน 8 ตัวอักษรรวมตัวเลข โดยห้ามเว้นช่องว่างหรือวรรค และห้ามมีสัญลักษณ์อื่น ๆ เช่น วงเล็บ เครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น ) จำนวนทศนิยมความกว้างของคอลัมน์ Label ( ใช้ระบุรายละเอียดของตัวแปรซึ่งจำกัดเพียง 8 ตัวอักษร แต่ Label สามารถพิมพ์ข้อความได้มากกว่า รวมทั้งมีช่องว่างหรือสัญลักษณ์ใด ๆ ได้ ) เป็นต้น
•การนำข้อมูลเข้าสู่ Work sheet หรือ Data Editor
สำหรับการนำข้อมูลเข้าสู่ Data Editor สามารถทำได้หลายวิธี แต่ 2 วิธีที่นิยม ได้แก่
•การเปิดไฟล์จากไฟล์ประเภทอื่น
โดยโปรแกรม SPSS สามารถที่จะเปิดไฟล์ได้หลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นไฟล์จากโปรแกรม Excel, Lotus, Sysstat หรือ Dbase สามารถเปิดได้โดยใช้เมนู File \ Open \ Data จากนั้นเลือกชนิดของไฟล์ เลือก Drive และ Folder ให้ถูกต้อง
•การป้อนข้อมูลโดยตรง
ในการป้อนข้อมูล หากต้องการป้อนข้อมูลเข้าอย่างโดยตรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ใน Data Editor สามารถทำการ Copy และ Paste ข้อมูลในลักษณะของ Spread sheet ทั่วไปได้ ทำให้สะดวกต่อการใช้ป้อนข้อมูล
•เมนูสำหรับการวิเคราะห์ผลทางสถิติ
ในการวิเคราะห์นั้น จะใช้เมนู Statistics ดังรูป โดยจะมีเมนูย่อยที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติต่าง ๆ เช่น Descriptive Statistics, Compare Mean, General Linear Model, Correlation หรือ Regression เป็นต้น